วันพุธที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2557
การนับคะแนน
วิธีการนับคะแนนการเล่น
สี แดง 1 คะแนน
สี เหลือง 2 คะแนน
สี เขียว 3 คะแนน
สี น้ำตาล 4 คะแนน
สี น้ำเงิน 5 คะแนน
สีชมพู 6 คะแนน
สีดำ 7 คะแนน
วันพฤหัสบดีที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2557
การตั้งลูกจำนวนการเล่น
การตั้งจำนวนลูกสนุ๊กเกอร์ซึ่ง มี 3 ประเภทด้วยกัน
ประเภทที่1
การแข่งขั้น 15 แดง หมายถึงการ มีลูกสีแดงบนโต๊ะสนุ๊กเกอร์จำนวน 15 ลูก ตามาตราฐานกีฬาสากลโลก
ประเภทที่ 2
การแข่งขั้น 10 แดง ซึ่งมีจำนวน ลูกสีแดงบนโต๊ะเพียง 10ลูก ซึ่งการแข่งขันแบบนั้นจะเป็นการตั้งกฎการเล่นกันขึ้นมาเอง
ประเภทที่3
การแข่งขั้น 6 แดง ซึ่งมีจำนวน ลูกแดงบนโต๊ะสนุ๊กเกอร์ เพียง 6 ลูกซึ่งการเล่นแบบนี้จะเป็นการเล่นทั่วไป
ปัจุบันนิยมเล่นกันมากจน ยกระดับเข้ามาเป็นการแข่งขันระดับประเทศ
การแต่งกายของนักกีฬาสนุกเกอร์ระดับโลก
การแต่งกาย ชายและหญิง
1.เสื้อคอปกแขนยาว
2.หูกระต่าย
3.เสื้อกั๊ก
4.กางเกงสแลคสีดำ
อ้างอิงwww.snookersociety.com
วันจันทร์ที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2557
วิธีการซ้อม สนุ๊กเกอร์ ตามหลักนักกีฬาระดับโลก
การซ้อมสนุกเกอร์ โดยการตั้งลูก เป็นรูป ตัวอักษร T
1.การตั้งลูกเช่นนี้จะมีผลทำให้ผู้ซ้อมนั้น สามารถฝึกทักษะ เข้าเบรก หรือต่อแต้ม แทงได้ทั้งเกมส์
วิธีการยืนอย่างถูกต้องตามหลักเล่นเล่นกีฬาสนุกเกอร์
วิธีการยืนอย่างถูกต้อง
โดยปกติแล้ว การยืนก็เป็นพื้นฐานของการเล่นสนุกเกอร์อีกเช่นกัน อย่างยื่นอย่างถูกต้อง
1.ก้มลงโดยเท้าซ้ายจะอยู่หน้าเท้าขวา
2.ย่อนเท้าซ้ายลงเล็กน้อยเพื่อไม่ให้เกิดการเกร่งของกล้ามเนื้อเท้าซ้าย
3.เท้ายืนขวาตรง หันปลายเท้าขาวออกไปซ้ายขวาเล็กน้อย ตามรูปด้านซ้ายมือ
(รูปนี้เป็นการยืนสำหรับผู้ที่ จับไม้คิวด้านขวาของมือ)
ถ้าผู้เล่นถนัดการจับคิวด้านซ้ายของมือ การยืนก็จะสลับข้างกัน
วันพุธที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2557
มารายาทในการเล่น
มารายาทในการเล่น
กีฬาสนุ๊กเกอร์
เป็นกีฬาที่ผู้เล่นต้องใช้สมาธิ ทั้งสายตาและความเงียบเป็นอย่างมาก (เทียบได้กับกีฬายิงปืน)
มารยาทที่ไม่ดี
1. ชอบชวนคุยหรือส่งเสียงดังขณะเรากำลังแทง
2. มายืนฝนช็อคถี่ๆ ข้างๆหู เวลาเราก้มแทง
3. เวลากำลังจะแทง ชอบเอาช็อคมาวางแปะ กระแทกโต๊ะ
4. เวลากำลังแทงชอบเดินมา ที่หลุมที่กำลังเล็ง (อันนี้ทำให้ผมหงุดหงิดที่สุด)
มารยาทที่ดี
1. ไม่ทำตัวเสียมารยาท ไม่รบกวนสมาธิผู้เล่น
2. เวลาเราแทง จะเดินหลบมาด้านหลัง หรือเดินไปห่างจากโต๊ะ ไม่มาเกาะแกะ
3. ตั้งลูกสีให้ (ในกรณี มาร์คกี้ไม่อยู่แถวนั้น)
กติกาการเล่น
กฎกติกาการเล่น
กฎ กติกา และการเล่น
1. การเปิดเกมส์
1.1ถ้าลูกดำลงตอนเปิดเกมส์ สามารถให้ตั้งลูกใหม่ได้
1.2ถ้าลูกสีและลูกลายลงพร้อมกัน ก็สามารถที่จะเลือกเล่นลูกใดก็ได้
1.3ถ้าลูกสีหรือลูกลายลง และลูกขาวเปลี่ยนปรับเป็นฟาล์ว และฝ่ายตรงข้ามสามารถเลือกเล่นลูกสีหรือลูกลายก็ได้
2. การฟาล์วเสีย 2 ช็อต (คือ ฝ่ายตรงข้ามแทงได้ 2 ครั้งติดต่อกัน)
2.1ถ้าแทงลูกแล้วลูกขาวลง ยกเว้นลูกดำ
2.2ถ้าแทงลูกของฝ่ายตรงข้ามลง
2.3ถ้าแทงลูกที่เล่นและลูกขาวออกนอกโต๊ะ
2.4ถ้าแทงไม่โดนลูกของตัวเอง
2.5ถ้าลูกขาวฟาล์ว ในขณะที่อีกฝ่ายเหลือดำลูกสุดท้าย ให้นำลูกขาววางที่เส้นปิด และสามารถแทงไปยังลูกดำที่ตำแหน่งไหนก็ได้ ไม่ว่าใต้เส้น หรือเหนือเส้นปิด
3. การแพ้เกมส์
3.1แทงลูกดำลงระหว่างเกมส์
3.2ถ้าชิงดำลูกขาวเปลี่ยน หรือลูกขาวออกนอกโต๊ะ
3.3ถ้าแทงลูกดำลงผิดหลุมที่บอก
3.4ถ้าแทงลูกดำออกนอกโต๊ะ
3.5ถ้าชิงลูกดำแทงไม่ถูกลูกดำ
3.6ฝ่ายตรงข้ามแทงลูกดำลง (ลูกสุดท้าย) และไม่ได้ทำฟาล์ว
อุปกรณ์กีฬาสนุ๊กเกอร์
ลูกสนุ๊กเกอร์
ลูกต่างๆ จะต้องมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 52.5 มม. โดยมีความคลาดเคลื่อนได้ไม่เกิน 0.05 มม. ลูกจะต้องมีน้ำหนักเท่ากัน คลาดเคลื่อนได้ไม่เกิน 0.5 กรัมต่อ 1 ชุด
ลูกใดลูกหนึ่ง หรือทั้งชุด อาจให้เปลี่ยนได้ โดยความเห็นชอบจากผู้เล่นร่วมกันหรือจากดุลยพินิจของผู้ตัดสิน
2.ไม้สนุ๊กเกอร์
ไม้คิว (Cue)
ไม้คิวที่ใช้ในการเล่น ต้องมีความยาวไม่ต่ำกว่า 3 ฟุต (914 มม.) และรูปร่างลักษณะโดยทั่วไปต้อง
ไม่แตกต่างจากที่นิยมใช้กันอยู่ปกติ
ประวัติกีฬาสนุ๊กเกอร์
การกำเนิดกีฬาสนุกเกอร์
สนุกเกอร์เริ่มเกิดขึ้นในปลายศตวรรษที่ 19 กีฬาบิลเลียดเป็นกิจกรรมที่ได้รับความนิยมในหมู่ทหารอังกฤษที่ประจำในประเทศอินเดีย และคิดค้นเพิ่มเติมรูปแบบใหม่จากบิลเลียดแบบเดิม หนึ่งในการเปลี่ยนแปลงในระหว่างเจ้าหน้าที่ได้คิดค้นในขณะอยู่ในห้องรับประทานอาหารในเมืองจาบาลปุร์ (Jabalpur) ระหว่าง ปี 1874 หรือ 1875 ได้เพิ่มลูกบอลสีต่างๆ ได้แก่สีแดงและดำ ซึ่งถูกนำมาใช้สำหรับ พีระมิดพูล และไลฟ์พูล มีการกำหนดกติกาอย่างเป็นทางการในปี 1884 โดย เซอร์ เนวิลล์ แชมเบอร์เลน คำว่า สนุกเกอร์ (snooker) ในภาษาอังกฤษ มีต้นกำเนิดจากการทหาร ซึ่งเป็นสแลงของนักเรียนนายทหารปีแรกหรือบุคลากรที่ไม่มีประสบการณ์[ หนึ่งในฉบับที่กำหนดการแข่งขัน ซึ่งเซอร์ เนวิลล์ แชมเบอร์เลน แห่งกรมทหารเดวอนเชอร์ (ที่ไม่ใช่ชื่อเดียวกับนายกรัฐมนตรีอังกฤษ) ได้เล่นเกมใหม่เมื่อนั้นคู่ต่อสู้ของเขาพลาดที่จะแทงลงหลุมและแชมเบอร์เลนได้เรียกสิ่งนี้ว่า สนุกเกอร์ มันจึงกลายเป็นสิ่งที่เชื่อมกับเกมบิลเลียดในขณะนั้นมีการอ้างถึงผู้เล่นมือใหม่ที่ได้ถูกอธิบายว่าเป็น สนุกเกอร์
คำแนะนำ
คำแนะนำ
บล็อกนี้สร้างเนื้อหาเพื่อให้ความรู้ทางด้านข้อมูลเกี่ยวกับกีฬาสนุ๊กเกอร์ ทั้งวิธีการเล่นและกฏกติกา
เพื่อทำให้เกิดความเข้าใจวิธีการเล่นกีฬาสนุ๊กเกอร์ และนำเสอนข้อมูลขั้นตอนต่างๆ ทั้งประวัตกีฬาสนุ๊ก วิธีการคำนวนคะแนนขนาดโต๊สนุ๊กเกอร์และอุปกรณ์ต่างๆ รวมทั้งสอนวิธีการเล่นอย่างอย่างถูกวิธี
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)